วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

รูปแบบเครื่องแต่งกายของอาสาสมัคร ตำรวจบ้าน และอาสาจราจร


7.ระเบียบและคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้อง

...


7.4 รูปแบบเครื่องแต่งกายของอาสาสมัคร ตำรวจบ้าน และอาสาจราจร สามารถเปิดดูได้จากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 45 ง 3 มีนาคม 2551

1. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับปรับปรุงใหม่ล่าสุด ปี 2548)
2. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
3. พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและ ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544
4. พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
5. พระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2546
6. พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547
7. พระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550
8. พระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 8) พ.ศ.2551
9. พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551
10. กฎกระทรวง กำหนดเวลาขายสุราสำหรับ ผู้ใด้รับใบอนุญาตขายสุรา ประเภทที่ 3 และ ประเภทที่ 4 พ.ศ.2548
11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบบที่ 18) พ.ศ.2550 เรื่อง การคุ้มครองสุขภาพของผู้ ไม่สูบบุหรี่ และกำหนดส่วนหนึ่งส่วนใดหรือ ที่งหมดของสถานที่สาธารณะเป็นเขตสูบ บุหรี่หรือเขตปลอดบุหรี่
12. ระเบียบ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ว่าด้วย การส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ พ.ศ.2551
13. หนังสือแบบบีายมาตรฐานกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
14. หนังสือคู่มือประชาชนในการเตรียมติ'วให้ รอดปลอดนัยพินัติ ของกรมบีองนันและ บรรเทาสาธารณนัย กระทรวงมหาดไทย 2552


 คำสั่ง กองแผนงานอาชญากรรม ที่ 94/2553 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำสื่อเพื่อใช้ในงานชุมชนและ มวลชนสมพันธิ์ ตามทีกองแผนงานอาชญากรรม รับผิดชอบงานชุมชน และมวลชนสับพันธิ์ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ รวมทั้งมีหน้าทีจะ ต้องจัดทำสื่อต่างๆ เทียวกับงานชุมชนและมวลชนสับพันธิ์ เพื่อ เผยแพร่และแจกจ่ายให้กับหน่วยปฏิบัติทีเทียวข้องในสังกัด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ น่าไปใช้เป็นเครื่องมือประกอบการ แล'วงหาความร่วมมือจากประชาชนในการปฏิบัติงานชุมชน สับพันจิในพนทีเพื่อป้องกันอาชญากรรมได้อีกทางหนี่ง นน เพื่อให้การดำเนินการจัดทำสื่อต่าง ๆ เทียวกับงาน ชุมชนและมวลชนสัมพัันธิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 เป็น ไปด้วยความเรียบร้อย สามารถนำไปใช้ประใยชน่ได้ตาม วัตถุประสงค์ทีกำหนด กองแผนงานอาชญากรรม จึงแต่งตั้งคณะ ทำงาน โดยมีองค์ประกอบและอำนาจหน้าที ดังนี้
1. คณะทำงานประกอบด้วย
1.1 ผู้บังคับการกองแผนงานอาชญากรรม หัวหน้าคณะทำงาน
1.2 รองผู้บังคับการกองแผนงานอาชญากรรม ทีไดัรับมอบหมาย รองหัวหน้าคณะทำงาน
1.3 ผู้กำกับการฝ่ายอำนวยการ คณะทำงาน
1.4 ผู้กำกับการกลุ่มงานป้องคันและปราบปราม อาชญากรรม คณะทำงาน
1.5 ผู้กำกับการกลุ่มงานป้องกันอาชญากรรม พิเศษ คณะทำงาน
1.6 ผู้กำกับการกลุ่มงานวิเคราะห์และประเมินผล คณะทำงาน
1.7 ผู้กำกับการกลุ่มงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชน คณะทำงาน
1.8 รองผู้กำกับการกลุ่มงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชน คณะทำงาน
1.9 รองผู้กำกับการกลุ่มงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ทีได้รับมอบหมาย คณะทำงานและเลขานุการ 1.10 ล'ารกัตรกลุ่มงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชนทุกนาย คณะทำงานและผู้ช่วยเลขานุการ 1.11 ผู้บังคับหมีกลุ่มงานการมีส่วนร่วมของ ประชาชนทุกนาย เจ้าหน้าที

2. อำนาจหน้าที ให้คณะทำงานร่วมกันพิจารณาดำเน้นการจ้ดทำสื่อ เทียวกับงานชุมชนและมวลชนสัมพันธิ์ ประจำปี 2554 ตามแผนการจัดทำสื่อฯ ทีกำหนดไว้ ใดยให้มีเนื้อหา รูปแบบที เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน เพื่อน้าไปใช้ใน งานชุมชนและมวลชนสัมพันธิ์ต่อไป ทั้งนี้ ทั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั้ง ณ วันที 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 (จีรพล คุปตานนทํ) ผู้บังคับการกองแผนงานอาชญากรรม หมายเหตุ ข้อความในหนังสือเล่มนี้ เป็นการ ย่อความเฉพาะประเด็นสำคัญเท่านั้น หากนำไปใข้อ้างอิง กรุณาตรวจสอบ ข้อมูลกับเอกสารต้นฉนับ หรือ หน่วยงานเจ้าของระเบียบก่อน? พิมพที่โรงพิมพตำรวจ ถนนเศรษฐศิริ ดุสิต กรุงเทพฯ ๑0๓00 โทร. 0-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร 0-๒๒๘๑-๘๖<๖๘ กุมภาพันธ ๒<๖<๖๘

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

ค่าตอบแทนหรือสวัสดิการอื่นๆ ที่ อาสาสมัครฯ จะได้รับตามระเบียบ ตร.

7.ระเบียบและคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้อง

...


7.3 ค่าตอบแทนหรือสวัสดิการอื่นๆ ที่ อาสาสมัครฯ จะได้รับตามระเบียบ ตร. ว่าด้วย การส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ห้องถิ่นและ องค์กรมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ พ.ศ.2551 สวัสดิการ/ประใยชน์ที่สมาชิกอาสาสนัคร ตำรวจบ้าน อาสาจราจร และอาสาสนัครแนวร่วม จะได้รับ

1) ข้าราชการตำรวจและสมาชิกอาสา สม'ครอาจได'รบค่าตอบแทนการปฏิบัติงานจาก ทางราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ เอกชนแล้วแต่กรณี

2) มีสิทธิแต่งเครื่องแต่งกายและประดิบ เครื่องหมายอาสาสมัคร มีบัตรประจำตัวสมาชิก อาสาสมัคร

3) วุฒิบัตรสำเร็จหลักสูตรการฝึก อบรมอาสาสมัคร ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

4) สิทธิประโยชน์กรณีประสบภัยจน ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากการช่วยเหลือราชการ ตามกฎหมาย เช่น พ.ร.บ.ผู้ประสบภัย
(1) พระราชบัญณู'ติสงเคราะห์ ผู้ประสบภัย เนื่องจากการช่วยเหลือราชการ การ ปฏิบัติงานของชาติ หรือการปฏิบัติตามหน้าที่ มนุษยธรรม พ.ศ.2543
(2) ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การขอรับเงิน การพิจารณาและขยายเวลา ในการขอรับเงินสงเคราะห์เนื่องจากช่วยเหลือ ราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติ หน้าที่ตามหน้าที่มนุษยธรรม พ.ศ.2543

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรในกิจการตำรวจ

7.ระเบียบและคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้อง

...


7.2 การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กรในกิจการตำรวจ 

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้กำหนด ระเบียบเกี่ยวนับการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น และองค์กร มีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ พ.ศ.2551 โดยมีนัตลุประสงค์เพื่อให้ประชาชน ชุมชนท้องถิ่นและองค์กรต่างๆให้เข้ามามีส่วนร่วม ในกิจการตำรวจ ในการบีองนันปราบปราม อาชญากรรมต่างๆ การมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 3 รูปแบบ ที่สำคัญ คือ

1) การมีส่วนร่วมของประชาชนทั่วไป
(1) เครือข่ายชุมชนนักษณะ ปฏินัติการ
- อาสาสมัครตำรวจท้าน เพื่อแสวงหาความร่วมมือจากประชาชนให้เข้ามา ร่วมปฏิกัติกับเจ้าหน้าที่ตำรวจในการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม ยาเสพติด และอุบัติภัย ต่าง ๆ รวมที่งการตรวจตราของตำรวจสายตรวจ
 - อาสาจราจร ดำเนินการ กัดกลุ่มเยาวชน ราษฎรอาสาสมัคร ผู้แทนชุมชน หน่วยงานเอกชน โดยผ่านการแกอบรมอาสา จราจรให้มีความรู้เกี่ยวกับระเบียบ กฎหมาย ด้าน การจราจร กักษะและการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้อง เพื่อ ร่วมแก้ไขปัญหาจราจร ใดยให้เป็นผู้ช่วยเหลือ เจ้าพนักงาน
(2) เครือข่ายชุมชนกักษณะ แนวร่วม เพื่อแสวงหาความร่วมมือจากประชาชน ในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม การป้องกัน ตนเองของประชาชนและการป้องกันอุบัติภัย เช่น ตรงเครือข่ายเพื่อติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิก เพื่อแจ้งข่าวอาชญากรรม การสร้างชุมชนเข้มแข็ง และความร่วมมือในลักษณะเพื่อนบ้านเตือนกัย เป็นด้น

2) การมีส่วนร่วมขององค์กร เพื่อ แสวงหาความร่วมมือจากองค์กรหรือมูลนิธิต่าง ๆ ซึ่งมืความเกี่ยวข้องกบงานในภารกิจของตำรวจ โดย การประสานงาน กำหนดแนวทางในสักษณะการ ปฏินัติงานร่วมกันกับเจ้าหน้าที่ตำรวจหรือการ รักษาความสงบเรียบร้อยร่วมกัน

3) การมีส่วนร่วมของพนักงานรักษา ความปลอดภัยเอกชน เพื่อแสวงหาความร่วมมือ จากผู้ประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและ พนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน ให้สนับสนุน กิจการตำรวจในการรักษาความปลอดภัยและ รักษาความสงบเรียบร้อยในชุมชน/ท้องถิ่น

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

ความรู้เกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบ และติดตามการบริหารงานตำรวจ

7.ระเบียบและคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่เกี่ยวข้อง

...


7.1 ความรู้เกี่ยวกับคณะกรรมการตรวจสอบ และติดตามการบริหารงานตำรวจ (กต.ตร.) กต.ตร. คืออะไร?
 การกำหนดนโยบายการบริหารงานตำรวจ และกำกับดูแลสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้'ปฏินัติ ตามนโยบาย เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ นโยบายตำรวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) รวมทั้งยังมีหน้าที่ ตรวจสอบการปฏิน้ติตามนโยบายการบริหาร ราชการตำรวจให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.2547 และกฎหมายอื่น การตรวจสอบ ติดตามการบริหารงาน ตำรวจนั้น มีคณะกรรมการตรวจสอบ ติดตามการ บริหารงานตำรวจ (กต.ตร.) ในระดับต่างๆ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดและสถานีตำรวจ เรียก โดยย่อว่า “กต.ตร.กทม., กต.ตร.จังหวัด และ กต.ตร.สถานีตำรวจ” เพื่อตรวจสอบ ติดตามและ ประเมินผลการปฏิห้ติงานของข้าราชการตำรวจใน เขตพื้นที่ แล้วรายงาน ก.ต.ช. เพื่อพิจารณา นอกจากนี้ กต.ตร.กทม., กต.ตร.,วังหวัด และ กต.ตร.สถานีตำรวจ ยังมีหน้าที่ในการส่งเสริม ให้ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจเพื่อป้องกัน และปราบปรามการกระทำความผิดทางอาญา รักษา ความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัยของ ประชาชนตามความเหมาะสมและความต้องการ แต่ละพื้นที่

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

กฎหมายที่เกี่ยวกับการเล่นเกม อินเทอร์เน็ต

http://www.tutorentrancethai.com/ebookfree9/คู่มือประชาชน.pdf

6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...


6.7 กฎหมายที่เกี่ยวกับการเล่นเกม อินเทอร์เน็ต 

(1) เด็กอายุต่ำกว่า 18ปี ห้ามเล่นเกม อินเทอร์เน็ตในร้านเกม ร้านอินเทอร์เน็ต ก่อนเวลา 14.00 น.ในวันจันทร์ - ศุกร์ โดยห้ามเล่นเกินเวลา 22.00 น. และห้ามเล่นติดต่อกันเกิน 3 ชั่วโมง ยกเว้นวันหยุดราชการ

(2) ร้านเกม อินเทอร์เน็ต หากเปิดโดย ไม่ได้รับอนุญาตจะมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับ ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และเกมที่ เปิดจะต้องไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยและศีลธรรม

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

การห้ามใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ขณะขับขี่รถ


6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...


6.6 การห้ามใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ขณะขับขี่รถ

 (1) การใช้ใทรศัพท์เคลื่อนที่ (มือถือ) ขณะขับขี่รถหรือรถติดไฟแดง จะมืความผิด ถูกปรับตั้งแต่ 400 - 1,000 บาท
 (2) เว้นไช้อุปกรณ่เสริมสำหรับการ สนทนา ใดยผู้ขับขี่รถไม่ต้องถือหรือขับใทรศัพท์ เคลื่อนที่ (มือถือ) นั้น
(3) หากมีความจำเป็นต้องใช้โทรศัพท์ ใดยไม่ใช้อุปกรณ์เสริมในขณะขับขี่รถ ให้ผู้ขับขี่รถ จอดรถบริเวณไหล่ทาง

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

กฎหมายที่เกี่ยวกับสุรา/แอลกอฮอล์

6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...


6.5 กฎหมายที่เกี่ยวกับสุรา/แอลกอฮอล์ 

1) กำหนดเวลาขายสุรา ผู้ไดได้รับอนุญาตขายสุราให้ขายสุรา ได้เฉพาะภายในเวลาตงแต่ 11.00 น. - 14.00 น. และ ตํ้งแต่ 17.00 น. - 24.00 น. ผู้ใดฝ่าฝืนมีความ ผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าสิบบาท

2) การห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ให้แก่บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ และ บุคคลที่มีอาการมึนเมาจนครองสติไม่ได้ ผู้ใด ฝ่าปีนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับ ไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

3) สถานที่ห้ามขายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์น สถานที่หรือบริเวณ ดังนี้,
(1) วัดหรือสถานที่สำหรับปฏิบัติ พิธีกรรมทางศาสนา
(2) สถานบริการสาธารณสุขของ รัฐ สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถาน พยาบาลและร้านขายยาตามกฎหมายว่าด้วยยา
(3) สถานที่ราชการ ยกเว้น บริเวณที่รัดไว้เป็นร้านค้าหรือสโมสร
(4) หอพิกตามกฎหมายว่าด้วย หอพก
(5) สถานสืกษาตามกฎหมาย ว่าด้วยการสืกษาแห่งชาติ
(6) สถานีบริการนี้าห้นเชื้อเพลิง ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนี้าห้นเชื้อเพลิง หรือร้านค้าในบริเวณสถานีบริการนี้ไม่นเชื้อเพลิง
(7) สวนสาธารณะของทาง ราชการที่จิ'ดไว้เพื่อการพ'กผ่อนของประชาชน โดยทั่วไป
(8) สถานที่อื่นที่รัฐมนตรีประกาศ กำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ หมายเหตุ ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ

4) อัตราโทษผู้ขับขี่รถในขณะเมาสุรา (ตรวจพบแอลกอฮอล์เกิน 50 มิลลิกรัม เปอร์เซ็นต์)
 (1) เมาแล้วขับ อัตราโทษจำคุก ไม่เกิน 1ปี หรือปรับไม่เกินห้าพันถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้ปรับ และยึดใช้ใบอนุญาตขับขี่ ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือเพิกถอนใบอนุญาต
 (2) เมาแล้วขับเป็นเหตุให้ผู้อื่น ได้รับอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ อัตราโทษ จำคุก 1 ถึง 5ปี และปรับสองหมื่นถึงหนึ่งแสนบาท และพักใช้ใบอนุญาตขับขี่ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
 (3) เมาแล้วขับเป็นเหตุให้ผู้อื่น ได้รับอันตรายสาหัสอัตราโทษจำคุก 2 ถึง 6 ปี และ ปรับสี่หมื่นถึงหนึ่งแสนสองหมื่นบาท และพัก ใช้ใบอนุญาตขับขี่ไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือเพิกถอน ใบอนุญาต

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

กฎหมายที่เกี่ยวกับบุหรี่

6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...


6.4 กฎหมายที่เกี่ยวกับบุหรี่ 

1) การจำหน่ายบุหรี่ ห้ามจำหน่ายบุหรี่ให้กับเด็กที่มีอายุ ต่ำกว่า 18 ปี ผู้ใดฝ่าปีน ต้องระวางใทษจำคุกไม่เกิน หนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินสองพินบาท หรือที่งจำ นั้งปรับ
2) สถานที่ห้ามสูบบุหรี่ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
 (l) สถานที่ที่ห้ามสูบบุหรี่ทั้งหมด ได้แก่ สถานที่สาธารณะทั่วไป ยานพาหนะสาธารณะ สถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพ ที่งหมดของคนและสัตว์ สถานศึกษา เช่น โรงเรียน อุทยานการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้ สถาบนกวดวิชา สอนดนตรี กีฬาและศิลปะ หอศิลป์ พิพิธภัณฑสถาน สถานที่สาธารณะที่ใช้ประโยชน์ร่วมกัน อาทิ ร้านค้า สถานบันเทิง สถานที่ออกกำกังกาย ห้างสรรพสินค้า และบริเวณโถงพักคอยและบริเวณทางเดินทั้งหมด ภายในอาคารโรงแรม ห้องเช่า หอพักคอนโดมิเนียม ศาสนสถาน ธนาคาร และสถาบันการเงิน
 (2) สถานที่ห้ามสูบบุหรี่ในอาคาร ได้แก่ สถานที่ราชการและรัฐวิสาหกิจ สถานีบริการ น้ำมันและแก๊ส มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา ตํ้งแต่ระด้บอุดมศึกษา สถานที่ทำงานเอกชน สถานี ขนส่งผู้โดยสารทางบกทุกประเภท สถานีรถไฟ
 (3) สถานที่อนุญาตให้สูบบุหรี่ ในอาคาร แต่จะต้องมีการกักพื้นที่ไว้เป็นการเฉพาะ ได้แก่ สนามบินนานาชาติ หมายเหตุ ผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษปรับ ดังนี้
  1. เจ้าของกิจการและสถานที่ มี โทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท
  2. ส่วนประชาชนที่สูบบุหรี่ในเขต ห้ามสูบบุหรี่ จะมีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ค่าตอบแทน ผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่าย

6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...


6.3 ความรู้เกี่ยวกับ พ.ร.บ. ค่าตอบแทน ผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่ จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544

โดยที่บทบัญญัติมาตรา 245 และมาตรา 246 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติ รับรองสิทธิในการได้รับความช่วยเหลือจากรัฐของ บุคคล ซึ่งได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทำ ความผิดอาญาของผู้อื่นโดยตนมิได้มีส่วนเกี่ยวข้อง นับการกระทำความผิดนั้น และไม่มีโอกาสได้รับ การบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น รวมทั้งการ รับรองสิทธิในการได้รับค่าทดแทนในกรณีของ บุคคลซึ่งตกเป็นจำเลยในคดีอาญา และถูกคุมขัง ระหว่างการพิจารณาคดีหากปรากฏตามคำพิพากษา อันสิ่งที่สุดในคดีนั้นว่าข้อเท็จจริงฟังเป็นที่ยุติว่า จำเลยมิได้เป็นผู้กระทำความผิดหรือการกระทำ ของจำเลยไม่เป็นความผิด ด้งนั้น เพื่อให้การ รับรองสิทธิด้งกล่าวเป็นใปตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงจำเป็นต้อง ตราพระราชบัญญัตินี้

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่ลงโทษ ผู้กระทำผิดต่อเด็ก


6.ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

...



6.2 ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่ลงโทษ ผู้กระทำผิดต่อเด็ก



1) การกระทำที่ห้ามกระทำต่อ เด็กภายใต้บทบัญณูติแห่งกฎหมายอื่นที่ไม่ว่าเด็กจะ ยินยอมหรือไม่
(1) กระทำหรือละเว้นการกระทำ กันเป็นการทารุณกรรมต่อร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
(2) จงใจหรือละเลยไม่ให้สิ่ง จำเป็นแก่การดำรงชีวิตหรือการรักษาพยาบาลแก่ เด็กที่อยู่ในความดูแลของตน จนน่าจะเกิดกันตราย แก่ร่างกายหรือจิตใจของเด็ก
(3) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรือน่า จะทำให้เด็กมีความประพฤติเสี่ยงต่อการกระทำผิด
(4) โฆษณาทางสื่อมวลชนหรือ เผยแพร่ด้วยประการใด เพื่อรับเด็กหรือยกเด็ก ให้แก่บุคคลอื่นที่ไม่ใช่ญาติของเด็ก เว้นแต่ เป็นการกระทำของทางราชการหรือได้รับอนุญาต จากทางราชการแล้ว
(5) ขู่เข็ญ ชักจูง ส่งเสริม ยินยอม หรือกระทำด้วยประการใดให้เด็กไปเป็นขอทาน เด็กเร่ร่อน หรือใช้เด็กเป็นเครื่องมือในการขอทาน หรือการกระทำผิด หรือกระทำด้วยประการใดอัน เป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากเด็ก
(6) ใช้จ้าง หรือวานเด็กให้ทำงาน หรือกระทำการอันอาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายหรือ จิตใจ
(7) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรือให้กระทำ การใด เพื่อแสวงหาประโยชน์ทางการค้าอันมี อักษณะเป็นการขัดขวางต่อการเจริญเติบโตหรือ พัฒนาของเด็ก หรือมีลักษณะเป็นการทารุณกรรม ต่อเด็ก
(8) ใช้ หรือยินยอมให้เด็กเล่น การพนันไม่ว่าชนิดใดหรือเข้าไปในสถานที่เล่น การพนัน สถานค้าประเวณี หรือสถานที่ที่ห้าม มิให้เด็กเข้า
(9) บังค้บ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่งเสริม หรือยินยอมให้เด็กแสดงหรือกระทำการ อันมีลักษณะลามกอนาจาร ไม่ว่าจะเป็นไปเพื่อให้ ได้มาซึ่งค่าตอบแทนเพื่อการใด
(10) จำหน่าย แลกเปลี่ยน หรือให้ สุรา หรือบุหรี่แก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบัติทางการแพทย์ “ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุก1 ไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

2) ห้ามใฆษณา (ประจาน) ให้เสียหาย ห้ามมิให้ผู้ใดใฆษณาหรือเผยแพร่ทางสีอมวลชน หรือสื่อสารสนเทศประเภทใดซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ ตัวเด็กหรือผู้ปกครองใดยเจตนาที่จะทำให้เกิด ความเสียหายแก่จิตใจ ชื่อเสียงเกียรติคุณ หรือ สิทธิประใยชน์อื่นใดของเด็ก หรือเพื่อแสวงหา ประโยชน์สำหรับตนเอง “ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

3) การสอบปากคำเด็กอายุไม่เกิน สิบแปดปี การสอบปากคำเด็กไวในฐานะเป็น ผู้เสียหายหรือพยาน ให้ใช้สถานที่ที่เหมาะสมโดย ให้มีนักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห์บุคคลที่ เด็กร้องขอ และพนักงานอัยการร่วมด้วย

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก