วันอังคารที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558

เอกสารแจ้งความทำให้เสียทรัพย์

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ




1.12 แจ้งความทำให้เสียทรัพย์

  • (1) หลักฐานต่างๆ แสดงการเป็น เจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์นั้น
  • (2) หลักฐานหรือสิ่งของที่เสียหาย เท่าที่มีหรือเท่าที่นำไปได้ 
  • (3) หากเป็นของใหญ่โต หรือทรัพย์ที่ เคลื่อนที่ไม่ได้ ซึ่งไม่สามารถนำติดตัวไปได้ ให้ เก็บรักษาไว้อย่าให้เกิดการเสียหายมากขึ้นกว่าเดิม หรือจัดให้คนเฝ้ารักษาไว้เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินคดีต่อไป


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

เอกสารแจ้งความถูกยักยอกทรัพย์ในส่วนที่ เกี่ยวกับการเช่าซื้อ

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.11 แจ้งความถูกยักยอกทรัพย์ในส่วนที่ เกี่ยวกับการเช่าซื้อ 


  • (1 )สัญญาใบเช่าซื้อหรือสำเนา หรือ ใบสำคัญติดต่อซื้อ ขาย เช่า ยืม หรือฝาก 
  • (2) ใบสำคัญที่บริษัทห้างร้านออกให้ ใดยระบุรูปพรรณ ยี่ห้อ สี ขนาด นํ้าหนัก และ เลขหมายประจำตัวทรัพย์นั้น


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558

แจ้งความถูกยักยอกทรัพย์

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.10 แจ้งความถูกยักยอกทรัพย์


  • (1) หนังสือสำคัญหรือหลักฐานที่ แสดงว่าได้มีการมอบหมายทรัพย์ให้ไปจัดการ อย่างใดอย่างหนึ่ง 
  • (2)ใบสำคัญแสดงการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน 
  • (3) สำเนาหรือคำสั่งศาล หรือ พินัยกรรมในกรณีผู้กระทำ ผิด เป็นผู้จ้ดการทรัพย์สิน ผู้อื่นตามคำสั่งของศาลหรือพินัยกรรม


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

วันเสาร์ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2558

แจ้งความถูกฉ้อโกงทรัพย์

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.9 แจ้งความถูกฉ้อโกงทรัพย์ 


  • (1) หนังสือหรือหลักฐานต่างๆ ที่ เกี่ยวคับการถูกฉ้อโกง
  • (2) หลักฐานแสดงการเป็นเจ้าของ หรือผู้ครอบครองทรัพย์


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

วันศุกร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2558

แจ้งความถูกปลอมแปลงเอกสาร

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.8 แจ้งความถูกปลอมแปลงเอกสาร 


  • (1) ใบสำคัญตัวจริง เช่น ใฉนด แบบ น.ส.ร แบบ ส.ค.1 หนังสือสัญญา ใบเสร็จรับเงิน เป็นต้น 
  • (2) หนังสือที่ปลอมแปลง 
  • (3) ตัวอย่างตราที่ใช้ประทับหรือ ลายเซ็นในหนังสือ


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

แจ้งความทรัพย์สินหาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.7 แจ้งความทรัพย์สินหาย 


  • (1) ใบเสร็จรับเงินซื้อขายหรือหลักฐาน การแสดงการซื้อขายทรัพย์สินนั้น 
  • (2) รูปพรรณทรัพย์สินนั้นๆ เช่น หมายเลขเครื่อง ฯลฯ (ถ้ามี) 
  • (3) ตำหนิหรือลักษณะพิเศษต่างๆ 
  • (4) เอกสารสำคํญต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่มื ในกรณีลักทรัพย์ในบ้านเรือนหรือ สำนักงาน ให้รักษาร่องรอยหสักฐานในที่เกิดเหตุไว้ อย่าให้ผุ้ใดเข้าไปแตะต้องหรือเคลื่อนย้ายสิ่งของใน ที่เกิดเหตุจนกว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจจะไปถึง


Download Click!!!



ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

แจ้งความอาวุธปีนหาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.6 แจ้งความอาวุธปีนหาย(เอกสารที่ต้องนำติดตัวไป)


  • (1) ทะเบียนใบอนุญาตอาวุธปีน 
  • (2) ใบเสร็จรับเงินที่บริษัทห้างร้าน ขายปีนออกให้ (ถ้ามี)


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

แจ้งความรถหรือเรือหาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.5 แจ้งความรถหรือเรือหาย แจ้งทาง 191 ก่อน

 แล้วจึงนำหลักฐาน ไปแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ คือ


  • (1) ใบทะเบียนรถยนต์รถจ้กรยานยนต์ เรือ หรือพาหนะอื่นๆ ที่หาย
  • (2) ใบเสร็จรับเงินหรือสัญญาซื้อขายเท่าที่มี 
  • (3) ถ้ายานพาหนะดังกล่าวเป็นของ นิติบุคคลเป็นตัวแทนห้างร้านบริบท ผู้ไปแจ้งความ ควรมีหนังสือมอบอำนาจจากเจ้าของหรือผู้จ้ดการ ของห้างร้าน บริษัทนั้นๆ ไป รวมทั้งหนังสือรับรอง บริษัทด้วย 
  • (4) หนังสือเกี่ยวกับการติดต่อหรือ เอกสารที่จะใช้เป็นพยานหลักฐานได้ (ถ้ามี) 
  • (5) หนังสือคู่มือประจำตัวรถ หรือ ยานพาหนะ (เรือ) ที่ทางบริษัทห้างร้านจ่ายให้เป็น คู่มือ ถ้าไม่มืหนังสือคู่มือรถให้จำยี่ห้อ สี แบบ หมายเลขประจำเครื่องและตัวรถไปด้วย (ถ้ามี)


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

แจ้งความคนหาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.4 แจ้งความคนหาย 

หลักฐานที่ควรนำไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่ ตำรวจหลังจากที่ทราบว่าหายไปเป็นเวลา 24ชั่วโมง คือ

  • (1) บัตรประจำตัวผู้หาย (ถ้ามี) 
  • (2) สำเนาทะเบียนบ้านของผู้หาย (ถ้ามี) 
  • (3) ภาพถ่ายคนหาย (เป็นภาพถ่ายที่ใหม่ที่สุด) 
  • (4) ใบสำสัญทางราชการ เช่น ใบเกิด, ใบสำคัญทหาร (ใบกองเกิน, กองหนุน) (ถ้ามี)


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

แจ้งความเอกสารสำคัญหาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.3 แจ้งความเอกสารสำคัญหาย

 เช่น ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์, จักรยานยนต์, โฉนดที่ดิน, ใบสำสัญประจำตัวคนต่างด้าว ฯลฯ มีขั้นตอนดำเนินการดั้งนี้

(1) ยื่นคำร้องแจ้งว่าเอกสารดังกล่าว หายต่อสถานีตำรวจท้องที่ที่หาย
(2) เจ้าพนักงานตำรวจจะสอบสวนว่า หายจริงหรือไม่ แล้วลงบันทึกประจำวันไว้เป็น หลักฐาน
(3) เจ้าพนักงานตำรวจจะออกหลักฐาน การแจ้งความเอกสารหายเพื่อให้ท่านนำไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินการต่อไป

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

บัตรประจำตัวประชาชนหายหรือ บัตรถูกทำลาย

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ

...


1.2 กรณีบัตรประจำตัวประชาชนหายหรือ บัตรถูกทำลาย 

(1) เมื่อบัตรหายหรือถูกทำลาย ให้ แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่สำนักงานทะเบียนที่ ประสงค์จะทำบัตร (ไม่ต้องแจ้งความต่อเจ้าหน้าที่ ตำรวจ)
 (2) หลักฐานที่ต้องนำไปแสดงต่อ เจ้าหน้าที่สำนักงานทะเบียน สำเนาทะเบียนบ้าน หลักฐานเอกสารที่มีรูปถ่าย ของผู้ขอมีบ้ตร เช่น ใบอนุญาตขับรถ ใบสุทธิ หนังสือเดินทาง (ถ้ามี) หากไม่มีให้นำเจ้าบ้าน หรือบุคคลผู้น่าเชื่อถือ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ไป ให้การรับรอง
(3) อายุบัตร บัตรมีอายุใช่ใต้ 6 ปี เมื่อบัตร หมดอายุ หรือหาย หรือถูกทำลาย หรือชำรุด หรือ เปลี่ยนชื่อต'ว-ชื่อสกุล ต้องยื่นคำขอต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ ภายใน 60รัน นับแต่รันที่บัตรหมดอายุ หรือหาย หรือลูกทำลาย หรือชำรุด หรือเปลี่ยน ชื่อตัว-ชื่อสกุล เว้นแต่บัตรที่รังไม่หมดอายุในรัน ที่ผู้ถือบัตรมีอายุครบเจ็ดสืบปีบริบูรณํให้ใช้ต่อไป ไต้ตลอดชีวิต
 (4) สถานที่ทำบัตรประชาชน สามารถทำได้ที่ ที่ว่าการอำเภอ และเทศบาลทั่วประเทศ
 (5) ความผิด ผู้ถือบัตรผู้ใดไม่อาจแสดงบัตร ได้ เมื่อเจ้าพนักงานขอตรวจ มีโทษปรับไม่เกิน หนึ่งร้อยบาท ไม่ยื่นคำขอมีบัตรภายใน กำหนดทลา มีโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท บัตรหมดอายุไม่ต่อบัตรภายใน กำหนด หรือบัตรหายแล้วไม่ขอมีบัตรใหม่ภายใน กำหนด มีโทษปรับไม่เกินสองร้อยบาท เปลี่ยนชื่อตัว-ชื่อสกุล แล้วไม่ ขอเปลี่ยนบัตรภายในกำหนด มีโทษปรับไม่เกิน สองร้อยบาท ผู้ไม่มีสัญชาติไทยผู้ใดยื่นคำขอ มีบัตรโดยแจ้งข้อความหรือแสดงหสักฐานอันเป็น เท็จต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าตนเป็นผู้มีสัญชาติไทย หรือใช้บัตรซึ่งตนหมดสิทธิใช้ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่หกเดือนถึงห้าปีและปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาท ถึงหนึ่งแสนบาท

Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554 กลับหน้าหลัก

วันพฤหัสบดีที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2558

เอกสารที่ต้องติดตัวไป เมื่อต้องติดต่อกับตำรวจที่สถานีตำรวจ

1.คำแนะน่าในการไปติดต่อที่สถานีตำรวจ



1.1เอกสารที่ต้องติดตัวไป


(1)บัตรประจำตัวประชาชน หรือ ใบแทนฯ หรือบัตรประจำตัวข้าราชการ หรือ ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หรือหนังสือเดินทาง (Passport) สำหรับชาวต่างประเทศที่เดินทาง เข้ามาภายในประเทศ

(2)สำเนาทะเบียนบ้าน

(3)ในกรณีร้องทุกข์ (แจ้งความ) ใดย เป็นตัวแทนของผู้อื่น ให้นำหลักฐานติดตัวไปด้วย คือ
-ใบสำคัญแสดงการเป็นผู้แทน ใดยชอบธรรมของผู้เยาว์ หรือ
-ใบสำคัญแสดงการเป็นผู้อนุบาล ของผู้ไร้ความสามารถ (ตามคำสั่งศาล)
-ในกรณีที่ผู้เสียหายถูกทำร้าย ถึงตายหรือบาดเจ็บจนไม่สามารถจัดการเองได้ ให้
นำหลักฐานซึ่งแสดงว่าเป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดาน หรือสามีหรือภรรยา (ซึ่งได้จดทะเบียน, สูติบัตร, ใบทะเบียนสมรสฯลฯ) มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ
-ใบสำคัญแสดงการอนุญาต ของสามีหรือภรรยา แล้วแต่กรณี ให้ร้องทุกข์แทน หรือเป็นต้วแทนโดยสมบูรณ์
-ในกรณีที่เป็นผู้แทนของ นิติบุคคล ให้นำหนังสือมอบอำนาจของนิติบุคคล เป็นหลักฐาน รวมทั้งติดอากรแสตมป์  5บาท และ หนังสือรับรองนิติบุคคลนั้นของกระทรวงพาณิชย์


Download Click!!!


ที่มา กองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมษายน 2554



กลับหน้าหลัก

วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558

หนังสือสัญญาให้ที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาให้ที่ดิน





หนังสือสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดิน




หนังสือสัญญาเช่าที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาเช่าที่ดิน




หนังสือสัญญาจำนองที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาจำนองที่ดิน




หนังสือสัญญาขายฝากที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาขายฝากที่ดิน





หนังสือสัญญาขายที่ดินเฉพาะส่วน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาขายที่ดินเฉพาะส่วน




หนังสือสัญญาขายที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญาขายที่ดิน





หนังสือสัญญา เกี่ยวกับที่ดิน

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

หนังสือสัญญา เกี่ยวกับที่ดิน




บันทึกข้อตกลงเรื่องกรรมสิทธิ์รวม

หมวดที่4 โฉนด ที่ดิน

บันทึกข้อตกลงเรื่องกรรมสิทธิ์รวม




หลักฐานการเช่าอสังหาริมทรัพย์


หมวดที่3 กู้ เช่า

หลักฐานการเช่าอสังหาริมทรัพย์




หลักฐานการกู้ยืมเงิน

หมวดที่3 กู้ เช่า

หลักฐานการกู้ยืมเงิน





หนังสือให้ความยินยอมของคู่สมรส

หมวดที่2 ยินยอมให้

หนังสือให้ความยินยอมของคู่สมรส





หนังสือให้ความยินยอมการร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก

หมวดที่2 ยินยอมให้

หนังสือให้ความยินยอมการร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก




หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์ทำการสมรส

หมวดที่2 ยินยอมให้

หนังสือยินยอมให้ผู้เยาว์ทำการสมรส




หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่

หมวดที่2 ยินยอมให้

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่




หนังสือยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม

หมวดที่2 ยินยอมให้

หนังสือยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม



ผู้มีความบกพร่องในด้านความสามารถเนื่องจากอยู่ในฐานะผู้เยาว์/ผู้เสมือนไร้ความสามารถ ไว้เพื่อแสดงว่าข้าพเจ้าได้ให้ความยินยอมในการที่บุคลคลดังกล่าวจะกระทำนิติกรรมประเภทดังจะกล่าวต่อไปนี้




หนังสือรับมอบอำนาจ(เพื่อการชี้แจงปัญหาด้านภาษีอากรของนิติบุคคล

หมวดที่1 มอบอำนาจ

หนังสือรับมอบอำนาจ(เพื่อการชี้แจงปัญหาด้านภาษีอากรของนิติบุคคล


การใดที่ผู้รับมอบอำนาจดังกล่าวได้กระทำไปไม่ว่าจะเป็นการชี้แจงหรือการให้ถ้อยคำใด ๆ ก็ดี
การให้การยินยอมหรือให้การปฏิเสธการรับผิดที่จะเสียภาษีอากรใด ๆ หรือไม่ประการใดก็ดีข้าพเจ้าขอรับผิดชอบเสมือนหนึ่งข้าพเจ้าได้กระทำหรือให้ถ้อยคำด้วยตนเองทุกประการจึงลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยานข้างท้ายนี้


หนังสือรับมอบอำนาจ(เพื่อการชี้แจงปัญหาด้านภาษีอากร)ของบุคคลธรรมดา

หมวดที่1 มอบอำนาจ

หนังสือรับมอบอำนาจ(เพื่อการชี้แจงปัญหาด้านภาษีอากร)ของบุคคลธรรมดา

เพื่อการชี้แจงปัญหาด้านภาษีอากรของบุคคลธรรมดาต่อกรมสรรพากร





หนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินคดี

หมวดที่1 มอบอำนาจ

หนังสือมอบอำนาจให้ดำเนินคดี


เพื่อการนี้ให้ผู้รับมอบอำนาจมีอำนาจดำเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ไปในทางจำหน่ายสิทธิ เช่น การยอมรับตามที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งเรียกร้อง การถอนฟ้อง การประนีประนอมยอมความกัน การใช้สิทธิหรือการสละสิทธิในการอุทธรณ์ ฎีกา หรือการขอให้พิจารณาคดีใหม่ การร้องสอด การร้องขัดทรัพย์ การร้องขอกันส่วน การร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ ตลอดจนเข้าเป็นคู่ความร่วมในคดี รับหรือส่งเอกสารหรือเงินจากคู่ความหรือแก่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่ง/บุคคลภายนอก/ศาล/เจ้าพนักงานบังคับคดีและดำเนินกระบวนการในชั้นบังคับคดีจนถึงที่สุด

หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์

หมวดที่1 มอบอำนาจ

หนังสือมอบอำนาจยึดทรัพย์







การถูกฟ้องศาล... เรื่องร้ายจะกลายเป็นดี
* เป็นการยืดเวลาเพื่อให้ลูกหนี้ได้ตั้งตัว ตั้งสติ
* ลูกหนี้มีโอกาสต่อรองลดหนี้กับเจ้าหนี้ในศาลได้
* การบังคับคดีมีความเป็นธรรมมากกว่าการถูกทวงหนี้ 

การถูกยึดทรัพย์
เมื่อศาลมีคำพิพากษาให้เจ้าหนี้ชนะคดี หากลูกหนี้ไม่ชำระคืนตามคำพิพากษาภายใน 30 วัน เจ้าหนี้มีสิทธิยึดทรัพย์หรืออายัดสิทธิเรียกร้องของลูกหนี้ได้ โดยให้ศาลตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อออกหมายยึดและอายัดต่อไป

1. ทรัพย์สินที่เป็นข้าวของเครื่องใช้ในครัวเรือน ที่จำเป็นในการดำรงชีวิต มูลค่ารวมกัน 50,000 บาทแรกห้ามเจ้าหนี้ยึด ทรัพย์ที่จำเป็นในการดำรงชีพ เช่น โต๊ะกินข้าว เก้าอี้ โทรทัศน์ เครื่องครัว แต่ถ้าเป็นสร้อย แหวน นาฬิกา ของเหล่านี้แม้เป็นทรัพย์สินส่วนตัวของลูกหนี้ แต่เจ้าหนี้ก็มีสิทธิยึดได้เพราะไม่จำเป็นต่อการใช้ชีวิต

2. ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องมือทำมาหากินของลูกหนี้ ถ้ามูลค่ารวมกัน 100,000 บาทแรก ห้ามเจ้าหนี้ยึด เครื่องมือประกอบอาชีพ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร(ถ้าประกอบธุรกิจรับถ่ายเอกสาร) ในกรณีที่เครื่องมือประกอบอาชีพมีราคาสูงกว่า 100,000 บาท และจำเป็นต้องใช้จริง ๆ ก็สามารถขอต่อศาลได้

หากมีเจ้าหนี้หลายราย ทรัพย์ใดถูกยึดไปแล้ว ห้ามเจ้าหนี้รายอื่นมายึดซ้ำ เจ้าหนี้รายใดยึดก่อนก็ได้สิทธิก่อน

ที่มา http://www.lukkid.com/debt/debt06.html

หนังสือมอบอำนาจเพื่อดำเนินการขอบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

หมวดที่1 มอบอำนาจ

หนังสือมอบอำนาจเพื่อดำเนินการขอบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

                ( เพื่อดำเนินการขอบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร)

กรมสรรพากรกำหนดให้ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 จนถึง 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร มีหน้าที่ต้องเพิ่มเติมข้อความในใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ รวมทั้งในรายงานภาษีขาย และรายงานภาษีซื้อ โดยมีข้อความเพิ่มเติม ดังนี้
1. กรณีเป็นผู้ขายสินค้าหรือให้บริการ ต้องระบุสำนักงานของผู้ขายหรือให้บริการ โดยระบุว่าเป็น “สำนักงานใหญ่” หรือ “สาขา”ที่ออกใบกากับภาษี และต้องระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลักของผู้ซื้อหรือผู้รับบริการ รวมถึงสถานประกอบการของผู้ซื้อหรือผู้รับบริการ ว่าเป็น “สำนักงานใหญ่” หรือ “สาขา”
2. กรณีเป็นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ต้องระบุเลขประจาตัว 13 หลัก และระบุว่าผู้ซื้อหรือผู้รับบริการ เป็น “สำนักงานใหญ่” หรือ “สาขา”
ซึ่งข้อความเพิ่มเติมตามข้อ 1 และ ข้อ 2 จะจัดพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ประทับตรายาง เขียนด้วยหมึก พิมพ์ดีด หรือทำให้ปรากฏขึ้นด้วยวิธีการอื่นใดในลักษณะทำนองเดียวกันก็ได้ ซึ่งเป็นใบกำกับภาษีที่ได้จัดทำตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป
• เลขที่ข่าว ปชส. 3/2557
• วันที่แถลงข่าว 30 ตุลาคม 2556
• เรื่อง สรรพากรให้คู่ค้าเพิ่มข้อความในใบกำกับภาษี เริ่มใช้ 1 มกราคม 2557 เป็นต้นไป